top of page

ลักษณะโครงสร้างภายนอก

ราก

ราก (Roots)

 

       ราก (Root) เป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญมาจากรากแรกเกิด (Radicle) ของเอ็มบริโอ ปกติจะเจริญลงไปในดิน ทำหน้าที่ ยึดลำต้นให้ติดกับพื้นดิน ดูดน้ำและธาตุอาหาร นอกจากนี้ยังมีรากทำหน้าที่พิเศษ เช่น รากสะสมอาหาร รากสังเคราะห์แสง  รากค้ำจุน เป็นต้น 

รากแบ่งเป็น 3 ระบบ ดังนี้

  1. ระบบรากแก้ว (Tap Root System)

  2. ระบบรากฝอย (Fibrous Root System)

  3. ระบบรากพิเศษ (Adventitious Root System) หรือ Modified root

001.jpg
002.jpg

รากที่เกิดจากโคนต้นหรือกิ่ง
เหนือดิน แล้วเจริญลงไปยึด
กับดินทำหน้าที่ค้ำยันต้นไม้ไม่ให้ล้ม
(รากข้าวโพด, รากต้นเตย)

รากค้ำจุน

PROP ROOT

003.jpg

รากที่เกิดบริเวณข้อของลำต้นทำหน้า
ที่ช่วยยึดเกาะกับหลักเพื่อชูลำต้นขึ้นสูง
(รากต้นพลู,รากพริกไทย)

รากเกาะ

CLIMBING ROOT

005.jpg

รากแก้วหรือรากฝอยที่อยู่ใต้ดินทำ
หน้าที่สะสมอาหารประเภทแป้งน้ำตาล
และโปรตีน ทำให้รากมีขนาดใหญ่
(หัวผักกาด, กระชาย, มันเทศ)

รากสะสมอาหาร

STORAGE ROOT

004.jpg

รากที่งอกออกจากรากแก้วแล้วชูส่วน
ปลายรากสู่อากาศ ทำหน้าที่ช่วยหายใจ
พบในพืชที่อยู่ที่ชื้นแฉะ มีน้ำท่วมขัง
(โกงกาง,ลำพู แสม)

รากหายใจ

PNEUMATOPHORE 

ROOT

006.jpg

รากอากาศเกิดบริเวณลำต้นมีสีเขียวของ
คลอโรพลาสต์ช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสง
(รากกล้วยไม้)

รากสังเคราะห์ด้วยแสง

PHOTOSYNTHETIC

ROOT

รากที่ดัดแปลงไปทำหน้าที่อื่น (Modified Roots)

007.jpg

รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

008.jpg

รากพืชใบเลี้ยงคู่

010.jpg
009.jpg

รากพืชใบเลี้ยงคู่

รากแก้ว

รากแขนง

bottom of page